ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

Acinetobacter baumannii

Acinetobacter baumannii (อซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอ) เป็นแบคทีเรียแกรมลบทรงแท่งสั้น ค่อนข้างกลม (coccobacillus) ที่สามารถก่อให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องได้ และกำลังได้รับความสำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อยๆในฐานะที่เป็นเชื้อที่ก่อโรคในโรงพยาบาล เชื้อตัวนี้สามารถพบได้ในสิ่งแวดล้อมเช่นดินและน้ำ และอยู่ในตระกูลของแบคทีเรียที่ไม่มีแฟลกเจลลัม (flagellum) ที่ใช้สำหรับการเคลื่อนที่ แต่ใช้การเคลื่อนไหวโดยกระตุก (twitching) หรือการเคลื่อนที่ไปเป็นกลุ่ม (swarming) ซึ่งสันนิษฐานว่าเกิดจากยืดหดพิไล (pili) การเคลื่อนที่ของเชื้อสามารถเกิดจากสังเคราะห์พอลิแซ็กคาไรด์ออกนอกเซลล์จนเกิดไบโอฟิล์มด้านหลังของแบคทีเรียซึ่งผลักดันแบคทีเรียให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้เช่นกัน  นักจุลชีววิทยาการแพทย์มักจะแยกสกุลอซีเนโตแแบคเตอร์ออกจากวงศ์ Moraxellaceae อื่นๆโดยทดสอบออกซิเดส เนื่องจากอซีเนโตแบคเตอร์เป็นสปีชี่ส์เดียวใน Moraxellaceae ที่ไม่มีไซโตโครมซีออกซิเดส อซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอจัดเป็นหนึ่งในแบคทีเรียซึ่งมีอัตราการดื้อยาสูงในหมู่เชื้อในระบบทางเดินหายใจ รวมทั้งยังเป็นหนึ่งในหกสายพันธุ์ของเชื้อบนโลกที่มีความสามารถในการดื้อยาปฏิชีวนะเกือบทุกชนิด (หกสายพันธุ์หรือ "ESKAPE": Enterococcus faecium, Staphylococcus aureus, Klebsiella pneumoniae, Acinetobacter baumannii, Pseudomonas aeruginosa และสปีชี่ส์ในสกุล Enterobacter) อซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอมีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ‘อีรักแบคเตอร์’ (Iraqbacter) สืบเนื่องมาจากการปรากฏขึ้นอย่างฉับพลันครั้งแรกในหน่วยพยาบาลฐานทัพช่วงสงครามอีรัก ซึ่งยังคงเป็นปัญหาสำหรับทหารผ่านศึกและทหารประจำการที่อีรักและอัฟกานิสถาน อซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอสายพันธุ์ดื้อยาเริ่มแพร่สู่โรงพยาบาลพลเรือนในแต่ละพื้นที่เนื่องจากการเคลื่อนย้ายทหารบาดเจ็บผ่านสถานพยาบาลต่างๆ

การเคลื่อนที่และการเกาะติด (Motility and Adherance)A. baumannii จัดเป็นแบคทีเรียที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (non-motile) และตรวจไม่พบยีนสำหรับแฟลกเจลลา (Flagella) อย่างไรก็ตาม A. baumannii สามารถเคลื่อนที่แบบกระตุก (Twitching motility) โดยใช้การยืดหดของพิไลชนิดที่ 4 (Type IV pili assembly system)A. baumannii ใช้พิไลชนิดที่ 4 สำหรับทรานฟอร์มเมชันตามธรรมชาติ (Natural tranformation) และการเกาะติดพื้นผิววัตถุ (abiotic surface) ซึ่งพิไลชนิดที่ 4 นี้ในแบคทีเรียอย่าง Pseudomonas aeruginosa ถูกควบคุมการทำงานโดย Two-component sensor-regulator และ Complex chemosensory system และยังสามารถใช้ยึดเกาะกับเซลล์โฮสต์เพื่อการเพิ่มจำนวน (Colonization)

ไบโอฟิล์ม (Biofilm) ไบโอฟิล์มเป็นสังคมของเซลล์ร่วมกับพอลิเมอร์ต่าง ๆ เช่น คาร์โบไฮเดรต, กรดนิวคลีอิก, โปรตีน ฯลฯ และเกี่ยวข้องกับการยึดเกาะพื้นผิววัตถุ (abiotic surface) และเซลล์ของสิ่งมีชีวิต (biotic surface) ช่วยให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ยากดำรงชีวิต เช่น บนพื้นผิววัตถุที่แห้ง ไม่มีสารอาหาร อย่างสายสวนปัสสาวะและเครื่องมือทางการแพทย์อื่น ๆ ประจำถิ่นเป็นเชื้อฉวยโอกาสในโรงพยาบาล และ/หรือ ช่วยป้องกันยาปฏิชีวนะเข้าถึงตัวเชื้อ ก่อให้เกิดการดื้อยา บางสายพันธุ์ของ A. baumannii สามารถสร้างไบโอฟิล์มได้ ยีนที่เกี่ยวข้องได้แก่ cruE ซึ่งอยู่ในโอเปอรอน CruA/BABCDE chaperone-usher complex ทำหน้าที่ประกอบโครงสร้างของพิไลและขั้นตอนแรกเริ่มของการสร้างไบโอฟิล์มเพื่อยึดเกาะพื้นผิววัตถุ โอเปอรอนนี้ถูกควบคุมการทำงานโดย two-component regulatory system ที่ชื่อว่า bfmS/bfmR ในขณะที่การยึดเกาะบนผิวเซลล์ของสิ่งมีชีวิต A. baumanniiใช้พิไลอื่นที่เป็นอิสระจากโอเปอรอน CruA/BABCDE Biofilm-associated protein ของ Staphylococcus sp. เกี่ยวข้องกับการพัฒนาไบโอฟิล์มให้สมบูรณ์ซึ่งพบ Ortholog ใน A. baumannii เช่นกัน

โปรตีนในเยื่อหุ้มเซลล์ชั้นนอก (Outer membrane proteins)เวซิเคิลจากเยื่อหุ้มเซลล์ชั้นนอก (Outer membrane vesicles)เอนไซม์ที่เกิดจากการสลายตัวเนื่องจากการดูดซึ่ม (Hydrolytic enzymes)พยาธิกำเนิดที่ถูกเหนี่ยวนำโดยเอทานอล (Ethanol-induced pathogenesis)โปรตีนจับเพนนิซิลลิน (Penicillin-binding proteins: PBPs)การดูดซึมธาตุเหล็ก (Iron uptake)ซิเดอโรฟอร์ (Siderophores)ควอรัมเซนซิง (Quarum sensing)อื่น ๆ


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์ โป๊ยกั้ก เทียนสัตตบุษย์ ออลสไปซ์ โรสแมรี ออริกาโน มินต์ (พืช) ผักแขยง ลาเวนเดอร์ คาวทอง ผักชีลาว เทียนแดง ผักชี กุยช่าย เชอร์วิล ใบกระวาน กะเพรา จันทน์เทศ กานพลู หอมต้นเดี่ยว ขัณฑสกร (ยา) โคแฟกเตอร์ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต เพปไทด์ สเตอรอยด์ พันธะคู่ กรดไขมันอิ่มตัว ไตรกลีเซอไรด์ เอสเทอร์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ เซลลูโลส ซูโครส ไดแซ็กคาไรด์ กาแล็กโทส อัลดีไฮด์ ยางธรรมชาติ มอโนแซ็กคาไรด์ พันธะเพปไทด์ พอลิเพปไทด์ พันธะโควาเลนต์ พอลิเมอไรเซชัน ไกลโคลิพิด ฟอสโฟลิพิด โมเลกุลเล็ก พอลิแซคคาไรด์ ไมโอโกลบิน คณะเภสัชศาสตร์ ประวัติเภสัชกรรม เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ นิติเภสัชกรรม บริหารเภสัชกิจ เภสัชกรรมคลินิก เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชวิเคราะห์ เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชเวท เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชภัณฑ์ เภสัชเคมี พอลิแซ็กคาไรด์ ซิลิโคน รายชื่อสาขาวิชา สูตรเคมี น้ำหนักโมเลกุล ผลึกศาสตร์ ฟังก์ชันนัลกรุป อินโดล อิมิดาโซล อะซูลีน เบนโซไพรีน ฟีแนนทรีน แอนทราซีน แนฟทาลีน โทลูอีน เบนซีน แอลไคน์ แอลคีน อนินทรีย์เคมี พันธะโคเวเลนต์ ซัลเฟอร์ ธาตุคาร์บอน สเปกโทรสโกปี ลิพิด คีโตน อีเทอร์ เอสเตอร์ กรดคาร์บอกซิลิก แอลดีไฮด์ แอลกอฮอล์

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24519